เมียนมา ตัดเน็ต เป็นคืนที่สองติดต่อกัน หวังสกัดการชุมนุม

เมียนมา ตัดเน็ต เป็นคืนที่สองติดต่อกัน หวังสกัดการชุมนุม

เมียนมา สั่ง ตัดเน็ต ซ้ำเป็นคืนที่สองติดต่อกัน หวังสกัดการชุมนุมที่ดำเนินต่อเนื่องนานหลายวัน พร้อมออกฏหมายฉบับใหม่เพื่อลงโทษผู้ชุมนุม เมื่อวันที่ 16 กุมภาพันธ์ สำนักข่าว BBC รายงานว่า กลุ่ม NetBlock องค์กรเฝ้าระวังที่ตรวจสอบความปลอดภัยทางไซเบอร์และการกำกับดูแลอินเทอร์เน็ต ได้ออกมาเปิดเผยว่าเมื่อช่วงเวลาประมาณตี 1 ของอังคารที่ 16 กุมภาพันธ์ ตามเวลาในประเทศเมียนมานั้น อินเตอร์เน็ตถูกตัดขาดเกือบทั้งหมด

ซึ่งถือเป็นครั้งที่ 2 ติดต่อกันที่มีรายงานว่าอินเตอร์เน็ตถูกรบกวน 

และถือเป็นครั้งที่สี่นับตั้งแต่เกิดการรัฐประหารขึ้น โดยผู้เชี่ยวชาญคาดว่าการกระทำดังกล่าวมีจุดมุ่งหมายเพื่อสกัดการชุมนุมต่อต้านการรัฐประหารที่ดำเนินมายาวนานต่อเนื่องนับสัปดาห์

ขณะเดียวกันทางกองทัพได้ออกมาเพิ่มกฎหมายฉบับใหม่เพื่อกดดันเพื่อชุมนุม โดยกฎหมายฉบับใหม่ระบุว่า ผู้ที่ขัดขวางการปฏิบัติหน้าที่ของหน่วยรักษาความปลอดภัยอาจถูกจำคุกเป็นระยะเวลา 20 ปี ขณะที่ผู้ที่ปลุกปั่นสร้างความวุ่นวายและความหวาดกลัวให้กับชุมชน จะถูกจำคุกเป็นระยะเวลา 3 – 7 ปี

นอกจากนี้กระทรวงการสื่อสารเมียนมาได้ส่งข้อความไปหาสมาคมสื่อเมียนมา เตือนสื่อมวลชนไม่ให้เรียกรัฐบาลของพลเอกอาวุโส มินอ่องหล่าย ว่า รัฐบาลรัฐประหาร ซึ่งผู้ละเมิดคำสั่งดังกล่าวอาจถูกจำคุก หรือ สื่ออาจถูกถอนใบอนุญาตได้

โดยนาย ช็อง เซ กยุน นายกรัฐมนตรีของเกาหลีใต้ ได้ออกมากล่าวว่าพวกเขาได้จัดซื้อวัคซีนโนวาแวกซ์สำหรับประชาชน 20 ล้านคน และ วัคซีนไฟเซอร์ สำหรับประชาชนอีก 3 ล้านคน

ขณะนี้ทางการเกาหลีใต้ได้ทำการจัดซื้อวัคซีนเป็นจำนวนเพียงพอกับประชาชนทั้งประเทศ หรือเป็นจำนวนราวๆ 52 ล้านคน ซึ่งทางการเกาหลีใต้ได้รับวัคซีนจากโครงการโคแวกซ์, ไฟเซอร์, โมเดอร์นา, แอสตราเซเนกา และ จอห์นสันแอนด์จอห์นสัน

ตามกำหนดปัจจุบันทางการเกาหลีใต้จะเริ่มฉีดวัคซีนในวันที่ 26 กุมภาพันธ์ที่จะถึงนี้ โดยทางการตั้งเป้าว่าจะฉีดวัคซีนให้กับประชาชนในช่วงไตรมาสแรกได้ราวๆ 7 แสนคน ทั้งนี้จำนวนดังกล่าวถือว่าลดลงจากที่ทางการตั้งเป้าเอาไว้ก่อนหน้านี้

ปัจจุบันประเทศเกาหลีใต้มียอดผู้ป่วยสะสมอย่างน้อย 84,000 ราย และมีผู้เสียชีวิตจากเชื้อไวรัสแล้วมากกว่า 1,500 ศพ

เมียนมา เตือนสื่อ ห้ามเรียกว่า รัฐบาลรัฐประหาร

ทางการ เมียนมา ได้ทำการส่งจดหมายให้สมาคมสื่อ เตือนห้ามไม่ให้สำนักข่าวเรียกรัฐบาลของ พล.อ. มินอ่องหล่าย ว่า รัฐบาลรัฐประหาร ชี้ผิดจรรยาบรรณ

เมื่อวันที่ 15 กุมภาพันธ์ เว็ปไซต์ ฟรอนเทียร์เมียนมา รายงานว่า กระทรวงการสื่อสารเมียนมาได้ส่งข้อความไปหาสมาคมสื่อเมียนมา เตือนสื่อมวลชนไม่ให้เรียกรัฐบาลของพลเอกอาวุโส  มินอ่องหล่าย ว่า รัฐบาลรัฐประหาร พร้อมชี้ว่าเป็นการจรรยาบรรณสื่อ

โดยในข้อความภายในจดหมายระบุว่า “หนังสือพิมพ์บางฉบับ, สื่อมวลชนบางคน และ สื่อบางแห่ง ได้รายงานอย่างไร้จรรยาบรรณ และนำเสนอว่าสภาบริหารแห่งรัฐ เป็นรัฐบาลรัฐประหาร”

ซึ่งในจดหมายที่ทางการส่งให้ยังระบุว่าผู้สื่อข่าวหรือสื่อมวลชนที่ปฏิเสธที่จะทำตามคำขอจะต้องรับโทษทางกฎหมาย และสำนักข่าวนั้นๆอาจถูกเพิกถอนใบอนุญาตได้ พร้อมหยิบยก ตามกฎหมายมาตรา 8 ว่าด้วยการตีพิมพ์และเผยแพร่เนื้อหาโดยไม่เคารพหลักนิติธรรม และก่อให้เกิดความไม่สงบเรียบร้อยในสังคม เพราะเป็นการปลุกระดมมวลชนให้ต่อต้านรัฐแบบทางอ้อม

ย้อนกลับไปเมื่อวันจันทร์ที่ 1 กุมภาพันธ์ ที่ผ่านมานั้นกองทัพได้ทำการก่อรัฐประหารพร้อมจับกุมนาง อองซานซูจี ที่ปรึกษาแห่งรัฐเมียนมา ในข้อหาโกงการเลือกตั้งเมื่อช่วงเดือนพฤศจิกายน ปีที่ผ่านมา ซึ่งพล.อ. มิน อ่อง หล่าย ผู้บัญชาการทหารสูงสุดเมียนมารับปาก จะจัดการเลือกตั้งทันทีหลังยึดอำนาจ 1 ปีตามที่ประกาศเอาไว้

นอกจากนางอองซานซูจีแล้ว นาย วิน มินต์ อดีตประธานาธิบดีเมียนมา ถูกจับกุมและตั้งข้อหาละเมิดกฎหมายการห้ามชุมนุมในระหว่างสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 หลังจากเขาได้พบปะกับผู้สนับสนุนเขาที่ออกมาเดินขบวนสนับสนุนในช่วงหาเสียงเลือกตั้ง

จากการการก่อรัฐประหารได้นำไปสู่การชุมนุมต่อเนื่องนานหลายวัน จนนำไปสู่เหตุความรุนแรงในหลายพื้นที่

นาง อำไพ ได้บอกเพิ่มเติมว่าจากการสอบประวัติแล้ว ผู้เสียชีวิตเป็นสาวโสดและอยู่ตัวคนเดียวพร้อมมีโรคประจำตัวถึง 3 โรคคือความดันโลหิต โรคเบาหวาน และโรคหัวใจ และทราบว่าผู้ตายเคยไปไหว้พระ บนบานว่า หากตนเองเป็นโรคหรือเป็นอะไรไป ขอให้เสียชีวิตไปเลย อย่าให้พิการหรือเป็นผู้ป่วยติดเตียง ซึ่งจะสร้างภาระให้คนอื่น

ทั้งนี้ รายละเอียดของการตกหอพัก แรงจูงใจ ข้อมูลต่าง ๆ ของผู้ตาย ทางหอพักไม่ได้เปิดเผยเลย ดังนั้น ข้อมูลที่ปรากฏในสื่อ เช่น ภาพจดหมายที่เขียนทิ้งเอาไว้ ไม่ใช่ข้อมูลจริง ดังนั้นจึงอยากให้ทุกท่านระมัดระวังการเผยแพร่ข้อมูลต่าง ๆ เพื่อเคารพความเป็นส่วนตัวของผู้ตายด้วย

Credit : ที่เที่ยวญี่ปุ่น | จัดอันดับต่างๆ | รีวิวของแบรนเนม | วิธีการลงทุนต่า